ประกาศรายชื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร Digital literacy certificate (IC3)

ตรวจสอบรายชื่อผู้เข้าอบรม  (สีแดง)

รุ่นที่  1 วันที่  10-12  พฤศจิกายน  2557  (เวลา 08.30 – 17.30 น.)

รุ่นที่ 2  วันที่  26-28  พฤศจิกายน  2557  (เวลา 08.30 – 17.30 น.)

Download เอกสารประกอบการเรียน

1. วิชา Computing Fundamentals

2. วิชา Key Applications และ  คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับการสอบ

3. วิชา Living Online  และ  สรุปเนื้อหาการเรียน

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เปิดรับสมัครบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร

Digital literacy certificate (IC3) ระยะเวลาเรียน 3 วัน รับสมัครจำนวน 2 รุ่น ๆ ละ 30 คน ในเดือนพฤศจิกายน 2557 ณ ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง เทเวศร์ เป็นหลักสูตรเกี่ยวกับ
(1) วิชาความรู้พื้นฐานคอมพิวเตอร์ : Computing Fundamentals
(2) วิชาโปรแกรมหลักสาหรับคอมพิวเตอร์ : Key Applications
(3) วิชาระบบออนไลน์ : Living Online

ลักษณะการเรียน

โดยใน 1 วันเรียน 1 วิชา เมื่อเรียนจบ 1 วันจะมีการสอบในวิชานั้น จนครบ 3 วัน 3 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 3 วิชาจะได้รับประกาศนียบัตรระดับสากล ชื่อ Digital literacy certificate (IC3) ผู้เข้าเรียนทุกคนต้องเข้าสอบให้ครบ 3 วิชา ค่าสอบ 2,000 บาท (สำนักวิทยบริการฯ เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการสอบ)

การรับรองมาตรฐาน IC3 Certificate
ถูกกำหนดมาตรฐานที่เป็น Neutral Vendor Standard โดย Global Digital Literacy Council ซึ่งเป็นองค์กรที่กำหนดมาตรฐานด้านความรู้พื้นฐานด้านดิจิตอลอย่างเป็นสากล และได้รับการรองรับจากกระทรวงไอซีที / กระทรวงวัฒนธรรม และสมาคมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย

ข้อสอบ
ลักษณะการสอบหลากหลายมีเป็นแบบปฏิบัติ, แบบเลือกถูก-ผิด และแบบจำลองสถานการณ์
โจทย์ข้อสอบเป็นภาษาอังกฤษ
ใช้เวลาสอบประมาณ 45 นาที
การสอบผ่านระบบอินเตอร์เน็ต
ทราบผลสอบทันทีภายหลังการสอบเสร็จ
ผู้สอบผ่านครบ 3 วิชา ได้รับใบประกาศนียบัตร IC3 Certificate จาก Certiport

ผู้สนใจส่งรายชื่อผ่านหัวหน้าหน่วยงานไปยังสำนักวิทยบริการฯ ภายในวันที่ 24 ตุลาคม 2557 โทร. 02 282 9009 ต่อ 6762

รุ่นที่ 1 เรียนวันที่ 10-12 พย.2557 รุ่นที่ 2 เรียนวันที่ 26-28 พย.2557 ณ ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง เทเวศร์

รายละเอียดหลักสูตร Digital Literacy Certificate (IC3)

เนื้อหาการอบรม วันที่ 1 Computing Fundamentals

8.30 -10.30     ความรู้พื้นฐานคอมพิวเตอร์ : Computing Fundamentals

1.การใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น

1.1. หน่วยความจุคอมพิวเตอร์ (Byte)

1.2. การใช้งาน Output Device (Optical Media, Robot)

1.3. การใช้ Output Device Application (Bluetooth)

1.4. การทางานกับ Device Driver (Printer)

1.5. การเพิ่มประสิทธิภาพการแสดงผลคอมพิวเตอร์

1.6. การปรับแต่งเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์

1.7. การป้องกันภัยจากการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์

1.8. อันตรายที่เกิดกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

1.9. การแก้ไขปัญหาการใช้ Hardware เช่น Printer, Scanner

10.30 – 12.00 2.การบริหารและจัดการซอฟต์แวร์

2.1. ซอฟต์แวร์ระบบ

2.1.1. ชนิด และตัวอย่างของซอฟต์แวร์

2.1.2. ประโยชน์ของการใช้ซอฟต์แวร์ และอายุการใช้งาน

2.1.3. Algorithm คือ

2.1.4. การใช้ Application Software

2.1.4.1. ส่วนประกอบและการใช้งานกระดาษคานวณ

2.1.4.2. ส่วนประกอบและการใช้งานโปรแกรมสร้าง Chart

2.1.4.3. ส่วนประกอบและการใช้งานโปรแกรมสร้างฐานข้อมูล

2.1.4.4. ส่วนประกอบและการใช้งานโปรแกรมกราฟิก

2.1.4.5. รูปแบบและชนิดของไฟล์ที่ได้จากโปรแกรมกราฟิก

2.1.5. การ Upgrade Software

12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.30  2.2  การใช้งานระบบปฏิบัติการ

2.2.1. ความเข้ากันได้ของระบบปฏิบัติการ

2.2.2. การเข้าสู่ระบบ Windows และส่วนประกอบของ windows

2.2.3. การใช้งานส่วนประกอบของ Windows

2.2.4. การบริหารจัดการหน้าต่าง Windows

2.2.5. การบริหารและจัดการไฟล์ใน Windows Explorer

2.2.6. การปรับแต่งพื้นหลังของหน้าจอ (Desktop Background)

2.2.7. การใช้งาน Control Panel

2.2.8. การตั้งค่าและกาหนดความปลอดภัยใน Microsoft Windows

2.2.9. การจัดการเครื่องพิมพ์ (Printer)

2.2.10. การแก้ไขปัญหาการใช้งานเครื่องพิมพ์ (Printer Driver)

14.30 – 16.30    2.2.11. ปรับปรุงระบบปฏิบัติการเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยง

2.2.12. ตัวอย่างระบบปฏิบัติการเครือข่าย

2.2.13. การจากัดสิทธิการติดตั้งและปรับเปลี่ยน Software

2.2.14. การวิเคราะห์ปัญหาการทางานของระบบปฏิบัติการ

2.2.15. การใช้ Software Patch ปิดช่องโหว่ของระบบปฏิบัติการ

ลงทะเบียนสอบ

16.30 – 17.30  สอบวัดผลหลักสูตร DIGITAL LITERACY CERTIFICATE IC3 : Computing Fundamentals

เนื้อหาการอบรม วันที่ 2 – Key Applications

8.30 – 10.30   โปรแกรมหลักสาหรับคอมพิวเตอร์ : Key Applications

1.การใช้ฟังก์ชันทั่วไปของโปรแกรม (Word, Excel, PowerPoint)

1.1. การใช้คาสั่งจัดเก็บไฟล์ของแต่ละโปรแกรม

1.2. การใช้คาสั่งออกจากโปรแกรม

1.3. การใช้คาสั่ง Help ของแต่ละโปรแกรม

1.4. การใช้คาสั่งการเปลี่ยนมุมมอง

1.5. การใช้คาสั่งแก้ไขค่าเริ่มต้น

1.6. การใช้คาสั่ง Undo และ Redo

1.7. การใช้ปุ่มคาสั่ง Insert/Overtype

1.8. การสร้างเอกสารจากต้นแบบของโปรแกรมต่างๆ

1.9. การสร้างเอกสารใหม่จากโปรแกรมต่างๆ

1.10. การปิดไฟล์จากโปรแกรมต่างๆ

1.11. การค้นหาข้อความและแทนที่ข้อความ

1.12. การคัดลอกและวางข้อมูลแบบต่างๆ

1.13. การคัดลอกและวางข้อมูลข้ามโปรแกรม

1.14. การกู้คืนไฟล์เมื่อเวลาไฟดับ

1.15. การจัดเรียงข้อมูลในไฟล์ (Align, Arrange)

1.16. การใช้คาสั่ง Margin กาหนดขอบกระดาษ ทั้ง 3 โปรแกรม

1.17. การสร้าง Output File เป็น PDF ไฟล์ หรือ Email Attachment

1.18. การใช้คาสั่งควบคุมงานพิมพ์ และการยกเลิกคิวงานพิมพ์

1.19. การตรวจสอบสถานะงานพิมพ์

1.20. ชนิดของไฟล์ที่เกี่ยวข้อง

1.21. Error Message ของไฟล์

10.30 – 12.00  2.การใช้ฟังก์ชันประมวลผลคา (Word Processing)

2.1. การจัดระยะห่างของบรรทัด

2.2. การใช้ไม้บรรทัด (Ruler)

2.3. การแบ่งหน้าเอกสาร

2.4. การทางานกับตาราง

2.4.1. ตารางและการสร้างตาราง

2.4.2. การเพิ่ม หรือลบช่องเซลล์ในตาราง

2.4.3. การแทรกแถว หรือคอลัมน์ในตาราง

2.4.4. การลบแถว หรือคอลัมน์ในตาราง

2.4.5. การใช้คาสั่ง Table Autoformat จัดรูปแบบตารางแบบอัตโนมัติ

2.4.6. การแบ่งตาราง

2.5. การแทรกหัวกระดาษและจัดการหัวกระดาษ

2.6. การใช้คาสั่งแทรกวันที่ และจัดรูปแบบวันที่

2.7. การใช้เครื่องมือ Research Tool

2.8. การใช้เครื่องมือ Thesaurus

2.9. การยอมรับ หรือปฏิเสธการเปลี่ยนแปลงเอกสาร

2.10. การกาหนดรหัสผ่านป้องกันการเปิดไฟล์

12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.30  3.การใช้ฟังก์ชันของกระดาษคำนวณ

3.1. การจัดรูปแบบกระดาษคานวณ

3.1.1. การจัดระเบียบข้อมูลใน Worksheet

3.1.2. การใช้คาสั่งจัดรูปแบบข้อมูลตัวเลข

3.1.3. การจัดตาแหน่งข้อความในช่องตาราง (Alignment)

3.1.4. การผสานช่องเซลล์และจัดตาแหน่งข้อความ (Merge Center Across Column)

3.1.5. การแทรก หรือลบช่องเซลล์

3.1.6. การแทรกแถว และคอลัมน์ การลบแถวและคอลัมน์

3.2. ชาร์ต และการปรับแต่ง

3.2.1. การวิเคราะห์ข้อมูลในชาร์ต

3.2.2. การเปลี่ยนองค์ประกอบในชาร์ต

3.3. การคานวณในตาราง

3.3.1. การแก้ไขและปรับแต่งสูตร

3.3.2. การใช้ฟังก์ชันพื้นฐานเบื้องต้น (SUM, Average, Min, Max, Count)

3.3.3. การใช้ AutoSum

3.4. การทางานกับฐานข้อมูล

3.4.1. การจัดเรียงข้อมูล

3.4.2. การใช้ฟิลเตอร์กรองข้อมูลแบบเลือกแสดงผล

3.5. การจัดงานออกทางเครื่องพิมพ์

3.5.1. การกาหนดการพิมพ์หัวแถวซ้าทุกหน้า

3.5.2. การกาหนดสเกลการพิมพ์

14.30 – 16.30  4.การสื่อสารด้วยซอฟต์แวร์การนำเสนอ

4.1. การใช้ Design Template

4.2. การจัดการองค์ประกอบในงาน Presentation

4.2.1. ส่วนประกอบของชาร์ตในสไลด์

4.2.2. ความสาคัญขององค์ประกอบในสไลด์

4.3. การเลื่อนไปยังสไลด์อื่นขณะอยู่ในมุมมองนาเสนอ (Go to Slide)

4.4. การแทรกตารางลงในสไลด์

4.5. การสร้าง Hyperlink ให้กับข้อความในสไลด์

4.6. การบันทึกงานนาเสนอเป็นเว็บเพจ

16.30 – 17.30 สอบวัดผลหลักสูตร DIGITAL LITERACY CERTIFICATE IC3 : Key Applications

เนื้อหาการอบรม วันที่ 3 – Living Online

8.30 – 10.30   ระบบออนไลน์ : Living Online

1.เครือข่ายและอินเตอร์เน็ต

1.1. ประโยชน์และตัวอย่างกิจกรรมบนระบบเครือข่าย

1.2. ชนิดของเครือข่าย

1.3. อุปกรณ์เครือข่าย (Network Media)

1.4. ชนิดของการสื่อสาร (DSL,Cable,T1)

1.5. ชนิดของ Software ที่ใช้กับ Client และ Server

1.6. บริการในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต

1.7. ข้อจากัดของระบบเครือข่าย

1.8. รู้จักBiometric Data

 

10.30 – 12.00  2.การสื่อสารและการทำงานร่วมกัน

2.1. ชนิดของการสื่อสาร

2.2. การบริหารจัดการ Email

2.2.1. องค์ประกอบของ Email Address

2.2.2. ส่วนประกอบของ Email

2.2.3. การตั้งค่า Email

2.2.4. การสร้าง Email Message

2.2.5. การรับและส่ง Email Message

2.2.6. การตอบกลับ และส่งต่อ Email

2.2.7. การเปิดดู Email ที่ได้รับ

2.2.8. การสร้าง Email Folder

2.2.9. การย้าย Email ลงในFolder

2.2.10. การจัดการ Priority Email

2.2.11. รู้จัก Spam Email

2.3. รู้จักโปโตคอล

2.4. อุปกรณ์อานวยความสะดวกในการสื่อสารผ่านเครือข่าย

2.5. การสื่อสารแบบ Real time

2.6. วิวัฒนาการของการสื่อสารแบบต่าง ๆ

2.6.1. Email

2.6.2. Conference

2.6.3. SMS Message

2.6.4. Web blog

2.7. ข้อแตกต่างของ Email กับ Instant Messaging

2.8. การเข้ารหัสการส่งข้อมูล

2.9. การกระจายข่าวลือบนอินเตอร์เน็ต

2.10. เครือข่ายสังคม (Social Network เช่น Facebook, Twitter และอื่นๆ)

12.00 – 13.00  พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 – 14.30  3.อินเตอร์เน็ตและเวิลไวด์เว็บ

3.1. รู้จัก IP Address

3.2. คุณสมบัติของ Weblog

3.3. การใช้ Internet Explorer สาหรับท่องเว็บไซต์

3.3.1. การใช้งานช่อง Address พิมพ์ URL Website

3.3.2. การเปิดหน้าเว็บเพจเป็น Tab ใหม่และเปิดเป็น Window ใหม่

3.3.3. จัดเก็บเว็บไซต์ในรายการโปรด

3.3.4. การจัดการ History ของเว็บไซต์

3.3.5. การ Refresh/Reload เว็บไซต์

3.3.6. การค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์

3.4. การทางานกับ Wiki และข้อมูลออนไลน์

3.5. ลิขสิทธิ์บนเว็บไซต์ (Copyright Material)

3.6. ข้อควรคานึงเกี่ยวกับการโพสต์ข้อมูล

3.7. การใช้ระบบเครือข่ายสังคม (Social Network Element)

14.30 – 16.30  4.ระบบคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และสังคม

4.1. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) และความปลอดภัยในการใช้งาน

4.2. ตัวอย่าง Media Technology

4.3. ตัวอย่าง E-Government

4.4. ตัวอย่าง Online Education

4.5. ป้องกันและจัดการความเสี่ยงด้วย Storage Backup

4.6. เทคโนโลยีที่เหมาะสมเมื่อเกิดภัยพิบัติ Disaster Recovery

4.7. รู้จัก Virus, Worm, Spyware และการป้องกัน

4.8. การกาหนด Security Measure

4.9. โปรแกรมเฉพาะทางในคอมพิวเตอร์ (ระบบบัญชี ระบบเงินเดือน)

4.10. อาการบาดเจ็บจากการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นระยะเวลานาน

4.11. เทคโนโลยีสาหรับผู้บกพร่องทางการได้ยิน

16.30 – 17.30  สอบวัดผลหลักสูตร Digital : Living Online