ผลการดำเนินงาน KM ปี 2553 (ต่อ)

ประเมินผล  แผนการจัดการความรู้ แผน 2 (รอบ 12 เดือน)

แบบฟอร์ม 2 : แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
ชื่อส่วนราชการ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ : สร้างคนดี คนเก่ง มีทักษะในงานพัฒนาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ
องค์ความรู้ที่จำเป็น : ความรู้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานสนับสนุน
ลำดับ    กิจกรรมการจัดการความรู้ ตัวชี้วัด  เป้าหมาย  ผลการดำเนินงาน
 1  การบ่งชี้ความรู้  มีทะเบียนรายการความรู้ที่ได้รับการบ่งชี้  6  เรื่อง มีการบ่งชี้ความรู้  จำนวน 9  เรื่อง ดังนี้
1. การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ (การทำแค็ตตาล็อคหนังสือ) โดยจัดทำเป็น Best Practice คู่มือการทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ ตามระบบ WALAI AutoLib
2. ถ่ายทอดความรู้จากการไปสัมมนา เรื่อง การดำเนินงานระบบจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Collection) ตามโครงการเครือข่ายห้องสมุด มหาวิทยาลัยไทย (ThaiLIS) โดยจัดทำเป็นคู่มือการลงรายการเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (TDC)  
3. ถ่ายทอดความรู้จากการไปสัมมนา เรื่อง เทคโนโลยีสำหรับการตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ผลงานวิชาการ/ผลงานวิชาการ/ผลงานวิจัย/สิ่งพิมพ์ออนไลน์
4. ถ่ายทอดความรู้จาการไปศึกษาดูงาน ณ งานบริหารทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ (ห้องสมุดคณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เดิม)
5. จัดทำคู่มือการปริ๊นบาร์โคด/การ Add Item,วิธีการทำลาเบล
6. อภิปรายแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อหาแนวทางการดำเนินการวางกฎเกณฑ์การลงรายการในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Walai  Autolib ตามกระบวนการ PM 8 งานวิทยบริการ
7. ถ่ายทอดความรู้จากการไปสัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการจัดการความรู้พัฒนาคุณภาพ
8. ถ่ายทอดความรู้ เรื่อง ระเบียบวิธีปฏิบัติวิธีการขึ้นชั้นหนังสือ
9. ถ่ายทอดความรู้จากการไปสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสืบค้นฐานข้อมูล Academic Search Premier และ Premier และ Education Research Complete
 2  การสร้างและแสวงหาความรู้  จำนวนบุคลากรที่เข้าร่วมอบรม/สัมมนา  ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 75
ภายในหน่วยงาน
เพื่อเป็นการสร้างและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมให้แก่บุคลากร สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดอบรมให้กับบุคลากรจำนวน 2 โครงการ คือ
1. โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาสาขาระบบวิทยบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) (โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ   WALAI AutoLib เวอร์ชั่น 1.3) มีผู้เข้าอบรมได้แก่ บุคลากรของสำนักวิทยฯ ทั้งที่ปฏิบัติงานและดูแลระบบงานห้องสมุดอัตโนมัติ “WALAI AutoLib” รวมทั้งสิ้น 20 คน
2. โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาสาขาระบบวิทยบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) (โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานระบบจัดการข้อมูล Digital Collection และระบบจัดการสารสนเทศ Repository จำนวน 15 คน
ภายนอกหน่วยงาน
อบรม/ศึกษาดูงาน
1. โครงการพัฒนาการจัดการศึกษาสาขาระบบวิทยบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) (โครงการสัมมนาและศึกษาดูงานด้านการบริหารและการบริการงานวิทยบริการ) ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ.นครราชสีมา  บุคลากรเข้าร่วมศึกษาดูงานจำนวน 58 คน
2. สัมมนา เรื่อง  เทคโนโลยีสำหรับการตรวจสอบเพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์ผลงานวิชาการ/ผลงานวิชาการ/ผลงานวิจัย/สิ่งพิมพ์ออนไลน์ ณ ห้องกิจกรรมเรวัติ  พุทธินันท์  หอสมุดปรีดี  พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
3. ศึกษาดูงาน ณ งานบริหารทรัพยากรเพื่อการเรียนรู้ (ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เดิม)
4. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การดำเนินงานระบบจัดเก็บเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Collection) ตามโครงการเครือข่ายห้องสมุด มหาวิทยาลัยไทย (ThaiLIS) โดยจัดทำเป็นคู่มือการลงรายการเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (TDC) ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร ชั้น 3 อาคารสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ
5. สัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการจัดการความรู้พัฒนาคุณภาพ ณ ห้องประชุมเฟืองทอง ชั้น 3 อาคารเอนกประสงค์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ศูนย์พระนครเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
6. สัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสืบค้นฐานข้อมูล Academic Search Premier และ Premier และ Education Research Complete ณ ชั้น 3 อาคาร 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
 3 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ มีจำนวนแฟ้มข้อมูลที่รวบรวมความรู้เป็นระบบ อย่างน้อยประเด็น
ละ 1 แฟ้ม
 มีการจัดทำแฟ้มข้อมูลรวบรวมความรู้ จำนวน 1 แฟ้ม
 4 การประมวลและกลั่นกรองความรู้   มีกิจกรรม/เสวนาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  อย่างน้อย 1 กิจกรรม – มีการจัดประชุมเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จำนวน 8 ครั้ง
รอบ 9 เดือน 
1.ชุมชนนักปฏิบัติเทเวศร์      
2. ชุมชนนักปฏิบัติโชติเวช   
3. ชุมชนนักปฏิบัติพณิชยการพระนคร    
4. ชุมชนนักปฏิบัติพระนครเหนือ
รอบ 12 เดือน 
1.  ชุมชนนักปฏิบัติเทเวศร์      
2.  ชุมชนนักปฏิบัติโชติเวช  
3. ชุมชนนักปฏิบัติพณิชยการพระนคร   
4.  ชุมชนนักปฏิบัติพระนครเหนือ
ทำการรวบรวมองค์ความรู้เป็นระบบจำนวน 1 เล่ม
 5  การเข้าถึงความรู้  มีจำนวนช่องทางที่เข้าถึงความรู้  อย่างน้อย 2 ช่องทาง – มีการเผยแพร่ทาง Web board ของสำนักวิทยบริการฯที่ http://board.rmutp.ac.th/viewthread.php?tid=79&extra=page%3D1    และเว็บไซต์ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยที่ http://lib.arit.rmutp.ac.th
– มีการจัดทำเป็นเอกสาร และ e-document
มีหนังสือเวียนแจ้งให้ทุกบุคลากรงานห้องสมุดทุกแห่งรับทราบและนำไปปฏิบัติ
 6  การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้
– จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
 จำนวนครั้งของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 ครั้ง – มีการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติทั้ง 4 แห่ง จำนวน 8 ครั้ง
  -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านทาง Web Board/e-mail ความถี่ของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านทาง Web board/e-mail 1 ครั้งต่อ 2 เดือน -แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านทาง Web Board ที่ http://board.rmutp.ac.th/viewthread.php?tid=79&extra=page%3D1
  -ชุมชนนักปฏิบัติ (COP) จำนวน (COP) 1 (COP)
ต่อ 1 หน่วยงาน
– มีการจัดตั้งชุมชนนักปฏิบัติขึ้น 4 ชุมชน คือ
1. CL COP : ชุมชนนักปฏิบัติเทเวศร์
2. CHL COP : ชุมชนนักปฏิบัติโชติเวช
3. BCL COP : ชุมชนนักปฏิบัติพณิชยการพระนคร
4. NBL COP : ชุมชนนักปฏิบัติพระนครเหนือ
 7  การเรียนรู้  จำนวนบุคคลากรในหน่วยงานที่ได้นำผลไปใช้ ร้อยละ 100 ของบุคลากรที่นำผลไปใช้  – มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดทำคู่มือ “Best Pratice คู่มือการทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ ตามระบบ Walai AutoLib” ไปให้ห้องสมุดทุกแห่งรับทราบและดำเนินการตามคู่มือ
– มีการนำความรู้ที่ได้จากการอบรม จัดทำคู่มือการลงรายการเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (TDC) ไปให้ห้องสมุดทุกแห่งรับทราบและดำเนินการตามคู่มือ
– 100% ของบุคลากรที่ได้รับความรู้นำไปใช้ปฎิบัติงานจริง และนำไปปรับปรุงพัฒนางาน

การประเมินผล องค์ความรู้ที่จำเป็น
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2553

การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ
ชื่อส่วนราชการ  :   สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  เป้าประสงค์ (Objective) ตัวชี้วัด (KPI)ตามคำรับรอง  เป้าหมาย ของ
ตัวชี้วัด 
องค์ความรู้ที่จำเป็น 
ประเด็นยุทธศาสตร์  ต่อการปฏิบัติราชการ 
  ตามประเด็นยุทธศาสตร์ 
สร้างคนดี คนเก่ง มีทักษะในงาน เพื่อพัฒนาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถทางด้านไอซีทีเข้าใจการใช้ประโยชน์จากไอซีทีอย่างคุ้มค่าและมีคุณธรรม จริยธรรม จำนวนบุคลากรในคณะที่ได้รับการพัฒนา ร้อยละ  75 – มีการนำความรู้ที่ได้จากการจัดทำคู่มือ “Best Pratice คู่มือการทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ ตามระบบ Walai AutoLib” ไปให้ห้องสมุดทุกแห่งรับทราบและดำเนินการตามคู่มือ
– มีการนำความรู้ที่ได้จากการอบรม จัดทำคู่มือการลงรายการเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (TDC) ไปให้ห้องสมุดทุกแห่งรับทราบและดำเนินการตามคู่มือ
– 100% ของบุคลากรที่ได้รับความรู้นำไปใช้ปฎิบัติงานจริง และนำไปปรับปรุงพัฒนางาน
องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ คือ
แผนการจัดการความรู้แผนที่ 1  ประเด็นยุทธศาสตร์ :    สร้างคนดี คนเก่ง มีทักษะในงาน เพื่อพัฒนาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ
  องค์ความรู้ที่จำเป็น :     การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ (การทำแค็ตตาล็อคหนังสือ)
  เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ : เพื่อตอบสนองต่อนโยบายและยุทธศาสตร์
  ตัวชี้วัดตามคำรับรองและเป้าหมายที่เลือกใช้วัดการทำ  KM  : ร้อยละ 75 ของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา
 ผู้ทบทวน : น.ส.เพชราภรณ์  เพ็ชรแก้ว ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) ผู้อนุมัติ :  ผศ.นิวัตร จารุวาระกูล  ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO)
             

 

สรุปผลการดำเนินงาน KM ปี 2552
หลักฐานยืนยันวันรายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากรของสำนักเสนอต่อผู้อำนวยการสำนัก

หน้าถัดไป >

Leave a Reply