ผลการประเมิน
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากการสอบถามระดับความคิดเห็นของบุคลากรของสำนักฯ จำนวน 57 คน มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 91.23 มีรายละเอียดข้อมูลทั่วไปดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล
ข้อมูลส่วนบุคคล |
จำนวน |
ร้อยละ |
เพศ | ||
ชาย |
22 |
42.30 |
หญิง |
30 |
57.70 |
อายุ | ||
ต่ำกว่า 30 ปี |
28 |
53.85 |
31 – 40 ปี |
17 |
32.70 |
41 – 50 ปี |
5 |
9.61 |
มากกว่า 50 ปี |
2 |
3.84 |
ระดับการศึกษา | ||
ต่ำกว่าปริญญาตรี |
0 |
0 |
ปริญญาตรี |
44 |
84.62 |
สูงกว่าปริญญาตรี |
8 |
15.38 |
สภาพการทำงาน | ||
ผู้บริหาร |
4 |
7.70 |
อาจารย์ |
3 |
5.77 |
สายสนับสนุน |
45 |
86.53 |
อื่นๆโปรดระบุ… |
0 |
0 |
จากข้อมูลส่วนที่ 1 จากการแจกแบบประเมินให้กับบุคลากรของสำนักฯ จำนวน 57 คน มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 91.23 เป็นเพศชายจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 42.30 เพศหญิงจำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 57.70 เป็นผู้มีอายุต่ำกว่า 30 ปี มากที่สุด จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 53.85 อายุ 31 – 40 ปี จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 32.70 อายุ 41 -50 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 9.61 และมากกว่า 50 ปี จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 3.84 มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรีมากที่สุด จำนวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 84.62 และสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 มีสถานภาพการทำงานเป็นสายสนับสนุนมากที่สุด จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 86.53 ผู้บริหาร 4 คน คิดเป็นร้อยละ 7.70 และอาจารย์ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 5.77
ส่วนที่ 2 ประสิทธิผลของแผนการจัดการความรู้
ประเด็นการประเมิน |
มาก ที่สุด |
มาก |
ปาน กลาง |
น้อย |
น้อย ที่สุด |
ค่า เฉลี่ย |
ระดับ |
|
(ร้อยละ) |
(ร้อยละ) |
(ร้อยละ) |
(ร้อยละ) |
(ร้อยละ) |
(ร้อยละ) |
|||
2.1 |
สามารถนำผลการจัดการความรู้ไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนางาน เสริมสร้างสมรรถนะและประสบการณ์ในการทำงาน |
40 (76.92%) |
10 (19.23%) |
2 (3.85%) |
0 (0.00%) |
0 (0.00%) |
4.79 (95.80%) |
มากที่สุด |
2.2 |
เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย |
37 (71.15%) |
13 (25.00%) |
2 (3.85%) |
0 (0.00%) |
0 (0.00%) |
4.67 (93.40%) |
มากที่สุด |
2.3 |
มหาวิทยาลัยมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เสริมสร้างประสิทธิภาพ เอื้อต่อการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
50 (96.15%) |
0 (0.00%) |
2 (3.85%) |
0 (0.00%) |
0 (0.00%) |
4.92 (98.40%) |
มากที่สุด |
2.4 |
มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งความรู้ที่เป็นที่พึ่งของสังคม |
36 (69.23%) |
10 (19.23%) |
6 (11.53%) |
0 (0.00%) |
0 (0.00%) |
4.57 (91.40%) |
มากที่สุด |
2.5 |
มหาวิทยาลัยเกิดการพัฒนามุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ |
40 (76.92%) |
12 (23.08%) |
0 (0.00%) |
0 (0.00%) |
0 (0.00%) |
4.77 (95.40%) |
มากที่สุด |
รวม |
4.74 (94.80%) |
มากที่สุด |
จากข้อมูลส่วนที่ 2 พบว่า ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลของแผนการจัดการความรู้ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.74 คิดเป็นร้อยละ 94.80 โดยมีความเห็นว่ามหาวิทยาลัยมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เสริมสร้างประสิทธิภาพ เอื้อต่อการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากที่สุดมีค่าเฉลี่ย 4.92 คิดเป็นร้อยละ 98.40 รองลงมาได้แก่ สามารถนำผลการจัดการความรู้ไปใช้ในการปรับปรุง พัฒนางาน เสริมสร้างสมรรถนะและประสบการณ์ในการทำงาน มีค่าเฉลี่ย 4.79 คิดเป็นร้อยละ 95.80 อันดับสามได้แก่ มหาวิทยาลัยเกิดการพัฒนามุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย 4.77 คิดเป็นร้อยละ 95.40 อันดับ 4 ได้แก่ เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ย 4.67 คิดเป็นร้อยละ 93.40 และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งความรู้ที่เป็นที่พึ่งของสังคม มีค่าเฉลี่ย 4.57 คิดเป็น ร้อยละ 91.40