แผนการจัดการความรู้ แผนที่ 2
แบบฟอร์ม 2 : แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : | |||||||
ชื่อส่วนราชการ : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||
ประเด็นยุทธศาสตร์ : จัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ | |||||||
องค์ความรู้ที่จำเป็น : ความรู้เกี่ยวกับการเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานวิทยบริการ | |||||||
ลำดับ | กิจกรรมการจัดการความรู้ | ระยะเวลา | ตัวชี้วัด | เป้าหมาย | กลุ่มเป้าหมาย | ผู้รับผิดชอบ | สถานะ |
1 | การบ่งชี้ความรู้ | ต.ค.53 -ก.ย.54 | มีทะเบียนรายการความรู้ที่ได้รับการบ่งชี้ | 3 เรื่อง | บรรณารักษ์, เจ้าหน้าที่ห้องสมุด,นักวิชาการโสตทัศนศึกษา | – งานห้องสมุด สวท.
– งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
– ความรู้เกี่ยวกับการเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงานวิทยบริการ | |||||||
2 | การสร้างและแสวงหาความรู้ | ต.ค.53 – ก.ย.54 | จำนวนบุคลากรที่เกี่ยวข้องที่เข้าร่วมอบรม/สัมมนา | ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 | บรรณารักษ์, เจ้าหน้าที่ห้องสมุด,นักวิชาการโสตทัศนศึกษา | – งานห้องสมุด สวท.
– งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
– ภายในหน่วยงาน
– ภายนอกหน่วยงาน |
|||||||
3 | การจัดความรู้ให้เป็นระบบ | ต.ค.53 – ก.ย.54 | มีจำนวนแฟ้มข้อมูลที่รวบรวมความรู้เป็นระบบ | อย่างน้อยประเด็นละ 1 แฟ้ม | บรรณารักษ์, เจ้าหน้าที่ห้องสมุด,นักวิชาการโสตทัศนศึกษา | – งานห้องสมุด สวท.
– งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
– จัดทำแฟ้มข้อมูลรวบรวมความรู้ | |||||||
4 | การประมวลและกลั่นกรองความรู้ | ต.ค.53 – ก.ย.54 | มีกิจกรรม/เสวนาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ | อย่างน้อย 1 กิจกรรม | บรรณารักษ์, เจ้าหน้าที่ห้องสมุด,นักวิชาการโสตทัศนศึกษา | – งานห้องสมุด สวท.
– งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
– จัดกิจกรรมเสวนาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
– รวบรวมองค์ความรู้ |
|||||||
5 | การเข้าถึงความรู้ | ต.ค.53 – ก.ย.54 | มีจำนวนช่องทางที่เข้าถึงความรู้ | อย่างน้อย 2 ช่องทาง | บรรณารักษ์, เจ้าหน้าที่ห้องสมุด,นักวิชาการโสตทัศนศึกษา | – งานห้องสมุด สวท.
– งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
– เผยแพร่ผ่าน website
– จัดทำเป็นเอกสาร, e-document – บอร์ดประชาสัมพันธ์ – การอบรม – หนังสือ/บันทึกเวียน |
|||||||
6 | การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ | ต.ค.53 – ก.ย.54 | -จำนวนครั้งของการแลก
เปลี่ยนเรียนรู้ -ความถี่ของการแลก เปลี่ยนผ่าน Web board / – จำนวน COP |
อย่างน้อย 1 ครั้ง
1ครั้ง ต่อ 2 เดือน
อย่างน้อย 1 COP |
บรรณารักษ์, เจ้าหน้าที่ห้องสมุด,นักวิชาการโสตทัศนศึกษา | – งานห้องสมุด สวท.
– งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
– จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
– แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านทาง Web board / e-mail – ชุมชนนักปฎิบัติ (COP) |
|||||||
7 | การเรียนรู้ | ต.ค.53 – ก.ย.54 | จำนวนบุคลากรในหน่วยงานที่ได้นำผลไปใช้ | ร้อยละ 70 ของบุคลากรที่นำผลไปใช้ | บรรณารักษ์, เจ้าหน้าที่ห้องสมุด,นักวิชาการโสตทัศนศึกษา | – งานห้องสมุด สวท.
– งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ |
|
– การนำการจัดการความรู้ไปใช้ในการปรับปรุงการให้บริการของหน่วยงาน |
ผู้ทบทวน : (ลงชื่อ) ผศ.สุธาทิพย์ เกียรติวานิช, นายเพชร สายเสน ผู้จัดการความรู้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้อนุมัติ : (ลงชื่อ) ผู้ช่วยาสตราจารย์นิวัตร จารุวาระกูล ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ