*** แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัย ***
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ชนิดของตัวบ่งชี้ กระบวนการ
คำอธิบายตัวบ่งชี้
1. การเตรียมความพร้อมสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ด้านการเตรียมความพร้อมทางกายภาพ (ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ สภาพแวดล้อมด้านการเรียนรู้)
–การมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตร
โดยอาจารย์/หัวหน้าอาคารร่วมหารือในการติดตั้งระบบห้องคอมพิวเตอร์อ้จฉริยะ ห้องปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ ได้รับการอบรมการใช้ห้อง e-classroom ฯลฯ
–จำนวนความพร้อมด้านกายภาพ
มหาวิทยาลัยมีพื้นที่ให้บริการนักศึกษาทั้งสิ้น 131,455.28 ตร.ม. จำนวน 1,743 ห้อง จำแนกเป็นห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ 497 ห้อง, ห้องบริการนักศึกษา 388 ห้อง,ระเบียงทางเดิน 227 พื้นที่, ห้องสำหรับงานบริหาร 603 ห้อง, พื้นที่บริการทั่วไป 16 พื้นที่ และร้านค้า 12 พื้นที่
รายละเอียดดูได้ที่ ระบบสารสนเทศการบริหารอาคาร มทร.พระนคร
สวส.1-1 จำนวนพื้นที่ห้องทั้งหมด, ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการและห้องบริการนักศึกษา
สวส.1-2 ภาพห้องปฎิบัติการมัลติมีเดีย
สวส.1-3 ภาพห้อง e-classroom ศูนย์พณิชยการพระนครศูนย์พระนครเหนือ
สวส.1-4 ภาพห้องเรียนภาพห้องปฎิบัติการห้องปฏิบัติการแมคคาทรอนิกส์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
สวส.1-5 จำนวนห้องเรียนห้องปฎิบัติการ มีเพียงพอต่อการใช้เรียนการสอน
–การปรับปรุงกระบวนการตามผลการประเมิน
สวส.1-6 แบบสำรวจความพร้อมการให้บริการด้ายกายภาพและรายงานผลการประเมิน
สวส.1-7 การปรับปรุงกระบวนการและขั้นตอนการดำเนินงานโดยให้คณะและสาขาวิชามีส่วนร่วมในการสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้
สวส.1-8 เปลี่ยนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และโปรเจคเตอร์ กระดานอัจฉริยะ (Smart-classroom)
2. การจัดสิ่งอํานวยความสะดวก และสิ่งสนับสนุนทางการศึกษา เช่น ห้องสมุดฐานขอมูลทรัพยากรการเรียนรู้ วารสารวิชาการเพื่อการสืบค้น ฯลฯ เพียงพอ ทันสมัย
–การมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ห้องสมุดได้จัดทำแบบสำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศและฐานข้อมูลโดยให้อาจารย์ประจำหลักสูตร สาขาวิชา และคณะ นักศึกษา บุคลากร ตลอดจนบุคคลภายนอก สามารถเสนอแนะทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อพิจารณาจัดซื้อไว้บริการ มีการประเมินผล สรุปผลการสำรวจ นำมาวางแผนการจัดซื้อ เพื่อให้บริการได้อย่างรวดเร็ว ทันกับความต้องการ
สวส.2-1 แผนผังระบบกลไกการให้บริการห้องสมุดและฐานข้อมูล
สวส.2-2 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานกลุ่มวิทยบริการ
สวส.2-3 แผนการปฏิบัติงานกลุ่มวิทยบริการ
สวส.2-4 บันทึกข้อความสำรวจการต่ออายุนิตยสาร และวารสารทางวิชาการ ประจำปีงบประมาณ 2558
สวส.2-5 บันทึกข้อความการบอกรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ จาก สกอ.
สวส.2-6 บันทึกข้อความแจ้งงบประมาณการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศของแต่ละคณะ โดยแบ่งตามค่า FTES
สวส.2-7 บันทึกเชิญชวนคัดเลือกหนังสือ ณ ร้านค้าตัวแทนจำหน่าย
สวส.2.8 ระบบแนะนำหนังสือ สำหรับอาจารย์และบุคลากรมีส่วนร่วมในการแนะนำหนังสือซื้อเข้าห้องสมุด
สวส.2-9 บันทึกเชิญชวนเสนอแนะทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด
สวส.2-10 ช่องทางแจ้งประชาสัมพันธ์เสนอแนะทรัพยากรเข้าห้องสมุด ประจำปีงบประมาณ 2558
สวส.2-11 แบบฟอร์มสำรวจความต้องการเสนอแนะทรัพยากรสารสนเทศ และแหล่งข้อมูลหนังสือจาก Website
สวส.2-12 ตัวอย่างรายงานจัดซื้อนิตยสาร และวารสารทางวิชาการในประเทศ
สวส.2-13 ตัวอย่างรายงานจัดซื้อนิตยสาร และวารสารทางวิชาการต่างประเทศ
สวส.2-14 ตัวอย่างรายงานการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ
สวส.2-15 ตัวอย่างบันทึกประชาสัมพันธ์รายชื่อหนังสือใหม่ ประจำปีงบประมาณ 2558
–จำนวนความพร้อมของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยมีจำนวนฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ไว้บริการจำนวน 19 ฐาน, มีฐานข้อมูล e-Book จำนวน 10 ฐาน มีระบบคลังปัญญาให้บริการฐานข้อมูลงานโครงการวิจัยของมหาวิทยาลัย โครงการของนักศึกษา จำนวนมากกว่า 1,000 เรื่อง ฯลฯ นอกจากนั้นยังจัดทำแบบสำรวจความต้องการทรัพยากรสารสนเทศและฐานข้อมูล ประเมินผล สรุปผลการสำรวจ นำมาวางแผนการจัดซื้อ เพื่อให้บริการได้อย่างรวดเร็ว ทันกับความต้องการ
สวส.2-15 ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 19 ฐาน
สวส.2-16 ฐานข้อมูล E-Book จำนวน 10 ฐาน
สวส.2-17 ระบบคลังปัญญา รวบรวมงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเพื่อการสืบค้นมากกว่า 1,000 เรื่อง
สวส.2-18 จำนวนทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ จำแนกตามศูนย์ โดยมีหนังสือทั้งสิ้น 117,541 เล่ม, วาสาร/นิตยสาร 137 เรื่อง และสื่อโสตทัศน์ 2,898 เรื่อง
สวส.2-19 สรุปจำนวนทรัพยากรสารสนเทศที่จัดซื้อ ประจำปีงบประมาณ 2558 จำนวน 3,112 เล่ม, จำนวนรายชื่อวาสารที่บอกรับประจำปีงปม.2558 จำแนกตามศูนย์
สวส.2-20 จำนวนทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด มทร.พระนคร จำแนกตามสาขาวิชา ประจำปีงบประมาณ 2558
สวส.2-21 ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
สวส.2-22 รายงานสถิติการยืม-คืน
สวส.2-23 รายงานสถิติให้บริการฐานข้อมูล
–การปรับปรุงกระบวนการตามผลการประเมิน
มีการจัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจการใช้ห้องสมุดในด้านต่าง ๆ แล้วนำผลสรุปที่ได้มาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการห้องสมุด และนำผลการประเมินที่ได้ รวมทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาสรุป โดยนำเข้าที่ประชุมตัวแทนคณะกรรมการกลุ่มวิทยบริการเพื่อหาแนวทางป้องกันและแก้ไขต่อไป
สวส.2-24 แบบประเมินการใช้ฐานข้อมูลคลังปัญญา และผลการประเมินความพึงพอใจการใช้ฐานข้อมูลคลังปัญญา
สวส.2-25 แบบประเมินความพึงพอใจการใช้ฐานข้อมูลวารสารห้องสมุด และผลการประเมินความพึงพอใจการใช้ฐานข้อมูลวารสารห้องสมุด
สวส.2-26 แบบประเมินความพึงพอใจผู้ใช้บริการห้องสมุด และผลการประเมินความพึงพอใจการใช้บริการห้องสมุด
สวส.2-27 แบบประเมินความพึงพอใจระบบแนะนำหนังสือ และผลการประเมินความพึงพอใจระบบแนะนำหนังสือ
สวส.2-28 แบบประเมินระบบฐานข้อมูลหนังสือใหม่ และผลการประเมินความพึงพอใจฐานข้อมูลหนังสือใหม่
สวส.2-29 รายงานการประชุม 3/58 เพื่อทบทวนและปรับปรุงตามผลการประเมิน
สวส.2-30 บันทึกการทบทวนกระบวนการให้บริการห้องสมุดและฐานข้อมูล ประจำปีงบประมาณ 2558 เสนอผู้บริหาร
สวส.2-31 กิจกรรมอบรมส่งเสริมการรู้สารสนเทศ ประจำปี 2558
สวส.2-32 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์สู่การตีพิมพ์งานวิจัยระดับนานาชาติ (Scopus)
4. มีบริการคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
–การมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตร
มีระบบติดต่อสอบถามการให้บริการคอมพิวเตอร์ เมื่ออาจารย์มีปัญหา หรืออาจารย์ให้ข้อเสนอแนะในการบริการคอมพิวเตอร์ Hardwar, Software และ Network ตามผังระบบและกลไก
สวส.4-1 ระบบและกลไกการให้บริการติดต่อ – สอบถาม (Call Center) สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
–การปรับปรุงกระบวนการตามผลการประเมิน
สวส.4-2 แบบสอบถามความพึงพอใจระบบการให้บริการติดต่อ – สอบถาม (Call Center) สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไม่มีการปรับปรุงกระบวนการ มีแต่แบบสอบถาม ไม่มีผลการประเมิน)..กลุ่มสำนักงาน ผอ.
5. การเรียนการสอนทางไกล ระบบการเรียนรู้แบบทางไกลมีประสิทธิภาพ อาจารย์และนักศึกษาสามารถติดต่อสื่อกสารได้ใกล้ชิด
–การมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตร
มีการจัดทำระบบกลไกด้านการเรียนการสอนทางไกล เพื่อเป็นการกำหนดเป้าหมาย ขอบเขต และวางแผนการดำเนินงานระบบการเรียนการสอนทางไกล มีการประชาสัมพันธ์เชิญชวนอาจารย์เข้าร่วมโครงการและสำรวจความความต้องการ เพื่อให้ทราบถึงความต้องการของผุ้ใช้บริการ มีการประชุมร่วมกันระหว่างอาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการจัดทำสื่อการเรียนการสอนทางไกล และบุคลากรของกลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อให้สื่อการเรียนการสอนตรงกับความต้องการ
สวส.5-1 ระบบและกลไกด้านการเรียนการสอน
สวส.5-2 แต่งตั้งคณะกรรมการสนับสนุนการเรียนรู้ด้านการเรียนการสอนทางไกล
สวส.5-3 แผนการดำเนินงานประจำปี 2558
สวส.5-4 รายงานการประชุมการวางแผนการดำเนินงานด้านการเรียนการสอนทางไกล
สวส.5-5 ภาพการประชุมการวางแผนการดำเนินงานด้านการเรียนการสอนทางไกล
สวส.5-6 หนังสือรับสมัครคณาจารย์เข้าร่วมโครงการจัดทำสื่อการเรียนการสอนออนไลน์
สวส.5-7 หลักเกณฑ์คุณสมบัติรายวิชาที่นำมาพัฒนาบทเรียน
สวส.5-8 บันทึกการประชุมคณะศิลปศาสตร์
สวส.5-9 ภาพการประชุมอาจารย์คณะศิลปศาสตร์
สวส.5-10 แบบสำรวจความต้องการ การพัฒนาผลิตสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
สวส.5-11 ผลสำรวจความต้องการ การพัฒนาผลิตสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
สวส.5-12 รายงานการประชุมผลสำรวจความต้องการ การพัฒนาผลิตสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
สวส.5-13 ภาพการประชุมสำรวจความต้องการ การพัฒนาผลิตสื่อนวัตกรรมฯ
สวส.5-14 รายงานการประชุุมร่วมระหว่าง อ.คณะศิลปศาสตร์และกลุ่มพัฒนานวัตกรรมฯ
สวส.5-15 ภาพการประชุุมร่วมระหว่างอ.คณะศิลปศาสตร์และกลุ่มพัฒนานวัตกรรมฯ
สวส.5-16 หนังสือประชาสัมพันธ์คณาจารย์เข้าใช้ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ปีการศึกษา 2558
สวส.5-17 แบบฟอร์มขอเปิดรายวิชาในระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (LMS)
–จำนวนความพร้อมของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ด้านสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning, Video on Demand and e-Courseware)
ปีการศึกษา 2558 จำนวนสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) ที่ผลิตเสร็จเพิ่มขึ้น 32 รายวิชา สื่อการสอนแบบ Video on Demand ผลิตเสร็จเพิ่มขึ้น 4 วิชา 43 ตอน และสื่อการเรียนการสอนแบบมัลติมีเดีย (e-Courseware) ผลิตเสร็จเพิ่มขึ้น 4 วิชา
สวส.5-18 สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) ที่ผลิตเสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 32 รายวิชา ดังนี้
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จำนวน 12 วิขา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 4 วิชา
คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน จำนวน 4 วิชา
คณะศิลปศาสตร์ จำนวน 3 วิชา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 3 วิชา
คณะบริหารธุรกิจ จำนวน 3 วิชา
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม จำนวน 1 วิชา
คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จำนวน 1 วิชา
สถาบันภาษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ จำนวน 1 วิชาสวส.5-19 สื่อ Video on Demand ที่ผลิตเสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 4 วิชา 43 ตอน
หลักการตลาด จำนวน 17 ตอน
อาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 9 ตอน
ขนมไทย 9 ตอน
ก้าวไกลกับสถาบันวิจัยและพัฒนา 8 ตอนสวส.5-20 สื่อการเรียนการสอนมัลติมีเดีย (e-Courseware) ที่ผลิตเสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2558 จำนวน 4 วิชา
สวส.5-21 รายงานรายวิชาที่มีจำนวนกิจกรรมมากที่สุด 5 อันดับ
สวส.5-22 รายงานจำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning)
สวส.5-23 รายงานการเข้าใช้สื่อ Video on Demand
–การปรับปรุงกระบวนการตามผลการประเมิน
โดย กลุ่มพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา มีการพัฒนา/ปรับปรุงระบบการเรียนการสอนทางไกลอย่างเป็นรูปธรรม มีการรายงานผลการปรับปรุง/แก้ไขอย่างชัดเจน มีการกำหนดระบบกลไกการมีส่วนร่วมของผู้รับริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกลุ่ม และจัดทำแนวปฏิบัติที่ดีด้านการเรียนการสอนทางไกล เรื่องสมาร์ทคลาสรูม (Smart Classroom) เผยแพร่สู่สาธารณะชน
สวส.5-24 แบบประเมินความพึงพอใจการผลิตสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) และ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจการผลิตสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) ความพึงพอใจระบบการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning) มีค่าความเฉลี่ย 4.49 อยู่ในระดับ มาก
สวส.5-25 แบบประเมินความพึงพอใจสื่อ Video on Demand และสรุปการประเมินผลความพึงพอใจสื่อ Video on Demand ความพึงพอใจระบบการเรียนการสอน Video on Demand มีค่าความเฉลี่ย 4.36 อยู่ในระดับ มาก
สวส.5-26 แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ และผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ฯ
สวส.5-27 รายงานการประชุม การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ต่อสิ่งสนับสนุนฯ
สวส.5-28 ภาพการประชุมการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ฯ
สวส.5-29 ผลการปรับปรุงและแก้ไขการผลิตสื่อการเรียนการสอนทางไกล
สวส.5-30 รายงานการประชุมผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2558
สวส.5-31 ภาพการประชุมผลการดำเนินงานประจำปีการศึกษา 2558
สวส.5-32 ระบบกลไกการมีส่วนร่วมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สวส.5-33 แนวปฎิบัติที่ดีด้านการเรียนการสอนทางไกล