กิจกรรมการจัดการความรู้ เกี่ยวกับระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ปีการศึกษา 2551
1) ทะเบียนรายการความรู้ที่ได้รับการบ่งชี้ เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ดังนี้
- E-document ระบบจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนสารบรรณ และนิติการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
- รายงานการศึกษาดูงาน ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ และระบบสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- การจัดการงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์แบบครบวงจร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สำนักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ระบบงานสารบรรณและระบบจัดการเอกสาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
- โครงการฝึกอบรมการใช้โปรแกรมระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
- รายชื่อผู้เข้าอบรมการใช้โปรแกรมสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครจำนวนผู้เข้าอบรม 53 คน
- รายงานสรุปการประเมินผลการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการใช้โปรแกรมระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
- ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เรื่อง กำหนดชื่อย่อและเลขประจำส่วนราชการ
- คุณสมบัติหลัก ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ บริษัท Vision Net
- เปลี่ยนองค์กรของคุณเป็น E-Enterprise บริษัท Teamwork Solution
- Benefit E-office 2000/ E-Office Automation บริษัท Solution Corner (Public Company Limited)
- Canon เครื่องจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ Document Reader Scaner
- แนวโน้มการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ E-Document Trend โดย รศ. ยืน ภู่วรวรรณ
- กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บเอกาสรอิเล็กทรอนิกส์ โดยนายชวลิต อัตถศาสตร์ คณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
- การจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยชนาธิป กันห์วานิช
2) การสร้างและแสวงหาความรู้
- ภายในหน่วยงาน
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดอบรมการใช้โปรแกรมระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ มีผู้เข้ารับการอบรมเป็นเจ้าหน้าที่สารบรรณของหน่วยงานสนับสนุนทั้งสิ้น 53 คน- ภายนอกหน่วยงาน
บุคลากรของสำนักวิทยบริการฯ กองกลาง สำนักส่งเสริมวิชาการฯ คณะวิศวกรรมศาสตร์เข้า
ร่วมสัมมนาเกี่ยวกับระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ จัดโดยสำนักวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย และเข้าร่วมสัมมนา “การจัดการงานสารบรรณยุคใหม่ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม”
3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ จัดทำแฟ้มข้อมูลรวบรวมความรู้ จำนวน 2 แฟ้ม
4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้
- จัดกิจกรรมเสวนาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 1 ครั้ง
- รวบรวมองค์ความรู้เป็นระบบจำนวน 1 แฟ้ม
5) การเข้าถึงความรู้
- มีการเผยแพร่ทาง Website http://kms.rmutp.ac.th/page/home.aspx
- มีการจัดทำเป็นเอกสาร และ e-document
- มีการอบรมจำนวน 1 ครั้ง
- มีบันทึกหนังสือ/เวียนการใช้งานระบบงานสารบรรณ มทร.พระนคร
6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 1 ครั้งในขณะจัดการฝึกอบรม
- มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านทาง Web board / e-mail http://kms.rmutp.ac.th/page/home.aspx
7) การเรียนรู้
- มีการนำการจัดการความรู้ใช้ในการปรับปรุงการให้บริการของหน่วยงาน โดยสำนักวิทยบริการฯ ได้ทดลองนำไปใช้ได้แล้วบางส่วน
http://kms.rmutp.ac.th/page/home.aspx