ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 จำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand
ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1 | คะแนน 2 | คะแนน 3 | คะแนน 4 | คะแนน 5 |
ต่ำกว่า 7,000 ครั้งการเข้าใช้ |
7,000 ครั้ง การเข้าใช้ขึ้นไป |
8,000 ครั้ง การเข้าใช้ขึ้นไป |
9,000 ครั้ง การเข้าใช้ขึ้นไป |
10,000 ครั้ง การเข้าใช้ขึ้นไป |
ผลการดำเนินงาน
จำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ในระบบวีดีโอสื่อการสอน ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร จำนวนทั้งสิ้น 125,868 ครั้ง ซึ่งเป็นการนับจำนวนครั้งของการใช้งานที่ผู้ชมไม่ซ้ำกัน
ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย
ค่า
เป้าหมาย (ครั้ง) |
4 เดือน
(1 มิย.54-30 กย.54) |
8 เดือน
(1 มิย. 54-31 มค. 55) |
12 เดือน
(1 มิย. 54-31 พค. 55) |
การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน | ||||||
12 เดือน งปม. 53
(1 ตค.53-30 กย. 54) |
6 เดือน งปม. 54
(1 ตค.54-31 มีค. 55) |
9 เดือน งปม. 54
(1 ตค.54-31 พค. 55) |
[ ] | [ ] | [√] | |||||
ผล | คะแนน | ผล | คะแนน | ผล | คะแนน | ต่ำกว่าเป้าหมาย | เท่ากับเป้าหมาย | สูงกว่าเป้าหมาย | ||
8,000 | N/A | N/A | N/A | N/A | 125,868ครั้ง | 5 |
รายการหลักฐาน
สวท.4.3-1 รายงานสรุปจำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand
สวท.4.3-2 รายงานสรุปจำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand แบบรายวิชา
สวท.4.3-3 รายวิชาที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand
จุดแข็ง
- เนื้อหาของสื่อที่ผลิตขึ้นในรูปแบบ Video On Demand สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงตามสาขาวิชาชีพต่างๆ
- มีเว็บไซต์ที่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลสื่อในรูปแบบ Video On Demand ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
- สื่อที่ผลิตได้ในรูปแบบ Video On Demand มีคุณภาพตามมาตรฐานการออกอากาศรายการโทรทัศน์
จุดที่ควรพัฒนา
- ปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความสวยงาม น่าสนใจมากยิ่งขึ้น และปรับปรุงใหม่ทุกๆปี
- ปรับปรุงรูปแบบเว็บไซต์ ให้รองรับการเข้าถึงสื่อได้ตรงตามความต้องการ
แนวทางแก้ไข สนับสนุนและแผนการพัฒนาส่งเสริมจากผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน มทร.พระนคร ปีการศึกษา 2554 | ||
แผน/โครงการ/กิจกรรม | ผู้รับผิดชอบ | งปม./ระยะเวลาดำเนินการ |
แผนส่งเสริม
|
– ผู้อำนวยการ สวท.
– รองฝ่ายวิทยบริการและนวัตกรรมการศึกษา – งานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา |
2555 |
แผนสนับสนุน
|
2555 |