ผลการดำเนินงาน

การฝึกอบรมการใช้งานฐานข้อมูลอ้างอิงการวิจัย Reference Database สำหรับบุคลากร สายวิชาการ

การฝึกอบรมการใช้งานฐานข้อมูลอ้างอิงการวิจัย Reference Database

สำหรับบุคลากร สายวิชาการ

เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2567 เวลา 8.30-16.00 น. ณ ห้อง Big data virtual lab ชั้น 4 อาคารราชบุรีดิเรกฤทธิ์ สำนักวิทยฯ จึงจัดโครงการ “อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้งานฐานข้อมูลอ้างอิงการวิจัย Reference Database สำหรับบุคลากรสายวิชาการ” แนะนำการใช้งานฐานข้อมูลอ้างอิงการวิจัย ตลอดจนเทคนิควิธีการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์  ให้กับอาจารย์ ฝึกทักษะทางด้านการสืบค้นสารสนเทศ การนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาวิจัย เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้า และเพิ่มศักยภาพในการใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพ และคุ้มค่ามากที่สุด

วิทยากร : นายจิรวัฒน์ พรหมพร  บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด

รายชื่อผู้เข้าอบรม

ลำดับที่

ชื่อ-สกุล

คณะหน่วยงาน

1 อาจารย์เอนก ศรฟ้า คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
2 อาจารย์ ดร.เกศทิพย์ กรี่เงิน คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
3 อาจารย์จิราภัทร โอทอง คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
4 ผศ.ดร.ประพาฬภรณ์  ธีรมงคล คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
5 อาจารย์ธันวา สุทธิชาติ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
6 อาจารย์ ดร.เปรมะพี อุยมาวีรหิรัญ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
7 อาจารย์สุธิดา กิจจาวรเสถียร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
8 อาจารย์วรธร ป้อมเย็น คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
9 อาจารย์สุวดี ประดับ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
10 ผศ.อัชชา หัทยานานนท์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
11 อาจารย์ลัดดาวัลย์ กลิ่นมาลัย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
12 อาจารย์บุญยนุช ภู่ระหงษ์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
13 อาจารย์มัลลิกา จงจิตต์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
14 อาจารย์วรลักษณ์ ป้อมน้อย คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
15 ผศ.ดร.น้อมจิตต์ สุธีบุตร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
16 อาจารย์ศิริน​ทิพย์ ​กุล​จิตร​ตรี​ คณะบริหารธุรกิจ
17 อาจารย์ดารุณี บุญมา คณะบริหารธุรกิจ
18 อาจารย์วริสรา ยงยิ่งประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ
19 อาจารย์นิลมิต นิลาศ คณะวิศวกรรมศาสตร์
20 อาจารย์พุทธิพงศ์ เลขะชัยวรกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์
21 อาจารย์ศศิประภา เวชศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ
22 อาจารย์สุนทร บินกาซานี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ
ลำดับที่ ชื่อ-สกุล คณะหน่วยงาน
23 รศ.ดร.กรรณิการ์ ม่วงชู คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
24 อาจารย์วรีวรรณ์ วิเศษสิงห์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
25 อาจารย์พิชญ์ชาญ ศรีเจริญ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
26 อาจารย์ ดร.ลาวัณย์ฉวี สุจริตตานนท์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
27 อาจารย์ภภัสสร สิงหธรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
28 ผศ.ดร.ดวงฤทัย นิคมรัฐ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
29 ผศ.นิภาพร ปัญญา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
30 ผศ.เจทญา กิจเกิดแสง คณะศิลปศาสตร์
31 อาจารย์สุจิตรา ชนันทวารี คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
32 ผศ.วิภาดา อำพนพรรณ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
33 ผศ.ดร.เกษม มานะรุ่งวิทย์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
34 ผศ.ดร.ศรัณย์ จันทร์แก้ว คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
35 อาจารย์ ดร.จรัสพิมพ์ วังเย็น คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
36 อาจารย์นฤพน ไพศาลตันติวงศ์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น
37 ผศ.ดร.ผกามาศ ชูสิทธิ์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
38 อาจารย์วรรณภา มโนสืบ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
39 ผศ.ภาวนา ชูศิริ

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

  • ค่าตอบแทนวิทยากร                      7,200  บาท
  • ค่าใช้สอย                                  12,420 บาท
  • รวมเป็นค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น                 19,620  บาท

การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล

เป้าหมายผู้เข้าอบรม  บุคลากรสาย จำนวน 40 คน  มีบุคลากรสายวิชาการเข้าร่วมฝึกอบรม จำนวน 39 คน โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการประเมินออนไลน์ จำนวน 35 คน และนำแบบสอบถามที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละของค่าเฉลี่ย เพื่อนำค่าเฉลี่ยไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ในการแปลความหมายของค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม

แบบสอบถามที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละของค่าเฉลี่ย เพื่อนำค่าเฉลี่ยไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ในการแปลความหมายของค่าคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม

ประเมินผลการฝึกอบรม

จากการศึกษาความพึงพอใจของการฝึกอบรมการใช้งานฐานข้อมูลอ้างอิงการวิจัย Reference Database สำหรับบุคลากร สายวิชาการ

ส่วนที่ 1 ข้อมูลสถานภาพของผู้ตอบแบบประเมิน                                                                     

เพศ เพศหญิงตอบแบบสอบถามมากที่สุด จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 77.1 และเพศชายตอบแบบสอบถามจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 22.9

คณะ ที่ตอบแบบสอบถาม ตามลำดับ ดังนี้

  1. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จำนวน   13   คน    คิดเป็นร้อยละ 10
  2. คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น จำนวน    6    คน    คิดเป็นร้อยละ 10
  3. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน    5    คน    คิดเป็นร้อยละ 30
  4. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม จำนวน    3    คน    คิดเป็นร้อยละ   60
  5. คณะบริหารธุรกิจ จำนวน    3    คน    คิดเป็นร้อยละ   60
  6. คณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน    2    คน    คิดเป็นร้อยละ   70
  7. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ จำนวน    2    คน    คิดเป็นร้อยละ   70
  8. คณะศิลปศาสตร์ จำนวน    1    คน    คิดเป็นร้อยละ   70
  9. คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน จำนวน    0    คน    คิดเป็นร้อยละ   00

แบบสอบถาม                                                             

การกำหนดค่าน้ำหนักของคะแนน

คะแนน 5        หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด

คะแนน 4        หมายถึง มีความพึงพอใจมาก

คะแนน 3        หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง

คะแนน 2        หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย

คะแนน 1        หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด

เกณฑ์สำหรับแปลผลคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม กำหนดไว้ดังนี้

4.51 – 5.00    หมายถึง มีความพึงพอใจ  มากที่สุด

3.51 – 4.50          หมายถึง มีความพึงพอใจ  มาก

2.51 – 3.50      หมายถึง มีความพึงพอใจ  ปานกลาง

2.51 – 2.50      หมายถึง มีความพึงพอใจ  น้อย

ต่ำกว่า 1.5       หมายถึง มีความพึงพอใจ  น้อยที่สุด

ส่วนที่ 2 สรุปผลการวิเคราะห์แบบประเมิน         

  1. ด้านวิทยากร

ความพึงพอใจด้านวิทยากร ประกอบด้วยคำถาม 6 ด้าน พบว่าผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.73 โดยความพึงพอใจเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านความพร้อมของวิทยากร  มีค่าเฉลี่ย 4.77 ด้านการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน มีค่าเฉลี่ย 4.69 ด้านการอธิบายเนื้อหา/ วิธีการสอน มีค่าเฉลี่ย 4.66 ด้านมีความครบถ้วนของเนื้อหาในการอบรม มีค่าเฉลี่ย 4.83 ด้านการใช้เวลาตามที่กำหนดไว้ มีค่าเฉลี่ย 4.71 และด้านการตอบข้อซักถาม มีค่าเฉลี่ย 4.71

  1. ด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร

ความพึงพอใจด้านสถานที่/ระยะเวลา/อาหาร ประกอบด้วยคำถาม 3 ด้าน พบว่าผู้เข้าอบรมมีความ               พึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.74 โดยความพึงพอใจเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านความพร้อมของสถานที่ให้การจัดอบรม มีค่าเฉลี่ย 4.71 ด้านระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย 4.69 และ     ด้านอาหารมีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย 4.83

  1. ด้านความรู้ความเข้าใจ

ความพึงพอใจด้านความรู้ความเข้าใจ ประกอบด้วยคำถาม 2 ด้าน พบว่าผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.80 โดยความพึงพอใจเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านความรู้ ความเข้าใจ เรื่องนี้ ก่อน อบรม มีค่าเฉลี่ย 3.11 และด้านความรู้ ความเข้าใจเรื่องนี้ หลัง อบรม มีค่าเฉลี่ย 4.49

  1. ด้านการนำความรู้ไปใช้

ความพึงพอใจด้านการนำความรู้ไปใช้ ประกอบด้วยคำถาม 3 ด้าน พบว่าผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.53 โดยความพึงพอใจเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ในการปฏิบัติงานได้ มีค่าเฉลี่ย 4.62 ด้านมีความมั่นใจและสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ได้  มีค่าเฉลี่ย 4.53 และด้านสามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีค่าเฉลี่ย 4.44

  1. ด้านความพึงพอใจต่อการจัดการโครงการ/อบรม

ความพึงพอใจด้านการนำความรู้ไปใช้ ประกอบด้วยคำถาม 4 ด้าน พบว่าผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.65 โดยความพึงพอใจเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านการประชาสัมพันธ์โครงการ/อบรม มีค่าเฉลี่ย 4.33 ด้านรูปแบบการดำเนินโครงการ/อบรม มีค่าเฉลี่ย 4.67 ด้านหัวข้อที่จัดอบรมน่าสนใจ และตรงตามความต้องการ มีค่าเฉลี่ย 4.82  และด้านความพึงพอใจในภาพรวมของการจัดโครง/อบรม  มีค่าเฉลี่ย 4.79

สรุป ความพึงพอใจของบุคลากรสายวิชาการ ที่เข้าร่วมฝึกอบรมการใช้งานฐานข้อมูลอ้างอิงการวิจัย Reference Database สำหรับบุคลากรสายวิชาการ อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.49