ผลการดำเนินงาน ปี 2553 (1)

การขยายผลองค์ความรู้ ปี 2553

ปีงบประมาณ  2552  สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้ไปศึกษาดูงานและประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและห้องสมุดกับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เมื่อวันที่ 13  สิงหาคม  2552  ได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการงานด้านสารสนเทศ อาทิเช่น ระบบแจ้งซ่อม (Help Desk) ระบบแสกนลายนิ้วมือ ระบบรับนักศึกษาผ่าน Website ระบบ e-Office  ระบบห้องสมุด  Walai  AutoLIB

ปีงบประมาณ 2553  สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้นำองค์ความรู้ดังกล่าวมาขยายผลด้วยการประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และพัฒนาระบบแจ้งซ่อมของมหาวิทยาลัย  เป็นการพัฒนาโปรแกรมในลักษณะ Webbase Application บน Website ของมหาวิทยาลัยให้บุคลากรใส่ User และ Password เพื่อแจ้งปัญหาเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่ายผ่าน  website  ได้สะดวก เมื่อเจ้าหน้าที่ได้รับแจ้งแล้วก็จะดำเนินการมอบหมายงานให้ผู้เกี่ยวข้อง และรายงานความคืบหน้าของการดำเนินงาน พร้อมจัดทำสถิติปัญหาที่เกิดขึ้นผ่าน Website รวมถึงจะได้พัฒนาเป็นคู่มือการพัฒนาระบบแจ้งซ่อมต่อไป และยังได้ขยายผลการจัดการความรู้เรื่องระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพและการบริหาร มาพัฒนาต่อให้มีรูปแบบการรายงานเพิ่มขึ้น สนองความต้องการของผู้ใช้

นอกจากนั้น ยังได้นำแนวคิดจากการดูงานห้องสมุด มาพัฒนาระบบงานห้องสมุดของสำนักวิทยบริการ ให้ทันสมัยยิ่งขึ้น รวมถึงได้นำแนวคิดมาประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับบรรณารักษ์ห้องสมุดของสำนักจัดทำเป็นแผนการจัดการความรู้ ปี 2553 เรื่องความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ (การทำแคตตาล็อคหนังสือ) ดังรายละเอียดแผนด้านล่าง

♣ แผนการจัดการความรู้ ปี 2553

แบบฟอร์ม 2  :    แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)
ชื่อส่วนราชการ  :     สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์   :  สร้างคนดี คนเก่ง มีทักษะในงานพัฒนาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ
องค์ความรู้ที่จำเป็น   :   ความรู้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานสนับสนุน
ลำดับ กิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับผิดชอบ
1 การบ่งชี้ความรู้ ม.ค – มีทะเบียนรายการ 6  เรื่อง บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด – KM ทีม
– ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ก.ย.53 ความรู้ที่ได้รับการบ่งชี้ กลุ่มงานห้องสมุด สวท.
(การทำแคตตาล็อคหนังสือ)
2 การสร้างและแสวงหาความรู้ ม.ค. – กลุ่มงานห้องสมุด สวท.
– ภายในหน่วยงาน ก.ย.53 จำนวนบุคลากรที่ ไม่น้อยกว่า บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด – KM ทีม
– ภายนอกหน่วยงาน เกี่ยวข้องที่เข้าร่วม ร้อยละ 75 มทร.พระนคร
อบรม/สัมมนา
3 การจัดความรู้ให้เป็นระบบ ม.ค. –
– จัดทำแฟ้มข้อมูลรวบรวมความรู้ ก.ย.53 มีจำนวนแฟ้มข้อมูลที่ อย่างน้อย บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด – KM ทีม
รวบรวมความรู้เป็น ประเด็นละ กลุ่มงานห้องสมุด สวท.
ระบบ 1 แฟ้ม
4 การประมวลและกลั่นกรองความรู้ ม.ค. –
– จัดกิจกรรมเสวนาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก.ย.53 มีกิจกรรม/เสวนาเพื่อ อย่างน้อย บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด – KM ทีม
– รวบรวมองค์ความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 กิจกรรม กลุ่มงานห้องสมุด สวท.
5 การเข้าถึงความรู้ ม.ค. – อย่างน้อย บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด – KM ทีม
– เผยแพร่ผ่าน website ก.ย.53 มีจำนวนช่องทางที่เข้า 2 ช่องทาง กลุ่มงานห้องสมุด สวท.
– จัดทำเป็นเอกสาร, e-document ถึงความรู้
– บอร์ดประชาสัมพันธ์
– การอบรม
– หนังสือ/บันทึกเวียน
6 การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ม.ค. –
– จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ก.ย.53 -จำนวนครั้งของการแลก 1  ครั้ง บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด – KM ทีม
– แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านทาง  Web board / e-mail เปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มงานห้องสมุด สวท.
-ความถี่ของการแลก 1 ครั้งต่อ 2  เดือน – KM ทีม
เปลี่ยนผ่าน Web board / กลุ่มงานห้องสมุด สวท.
e-mail
– ชุมชนนักปฎิบัติ (COP) – จำนวน COP 1 COP ต่อ
หน่วยงาน
7 การเรียนรู้ ม.ค. –
– การนำการจัดการความรู้ไปใช้ในการปรับปรุง ก.ย.53 จำนวนบุคลากรใน ร้อยละ 5 บรรณารักษ์และเจ้าหน้าที่ห้องสมุด กลุ่มงานห้องสมุด สวท.
การให้บริการของหน่วยงาน หน่วยงานที่ได้นำผลไปใช้ ของบุคลากร
ที่นำผลไปใช้

ผู้ทบทวน  :  (ลงชื่อ)  ผศ.สุธาทิพย์  เกียรติวานิช   ผู้จัดการความรู้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผู้อนุมัติ     :  (ลงชื่อ)  ผู้ช่วยาสตราจารย์นิวัตร จารุวาระกูล  ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2553

การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ
ชื่อส่วนราชการ  :   สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
เป้าประสงค์ (Objective) ตัวชี้วัด (KPI)ตามคำรับรอง เป้าหมาย ของตัวชี้วัด องค์ความรู้ที่จำเป็น
ประเด็นยุทธศาสตร์ ต่อการปฏิบัติราชการ
ตามประเด็นยุทธศาสตร์
สร้างคนดี คนเก่ง มีทักษะในงาน เพื่อพัฒนาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถทางด้านไอซีทีเข้าใจการใช้ประโยชน์จากไอซีทีอย่างคุ้มค่าและมีคุณธรรม จริยธรรม จำนวนบุคลากรในคณะที่ได้รับการพัฒนา ร้อยละ  75 ความรู้ที่จำเป็นในการเพิ่มสมรรถนะและประสิทธิภาพในการทำงาน
องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือกมาจัดทำแผนการจัดการความรู้ คือ
แผนการจัดการความรู้แผนที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ : สร้างคนดี คนเก่ง มีทักษะในงาน เพื่อพัฒนาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human Capital) ของประเทศ
องค์ความรู้ที่จำเป็น : การวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ (การทำแค็ตตาล็อคหนังสือ)
เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ : เพื่อตอบสนองต่อนโยบายและยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดตามคำรับรองและเป้าหมายที่เลือกใช้วัดการทำ  KM  : ร้อยละ 75 ของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา
ผู้ทบทวน : น.ส.เพชราภรณ์  เพ็ชรแก้ว ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) ผู้อนุมัติ :  ผศ.นิวัตร จารุวาระกูล  ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO)
Scroll to Top