KPI ปี 2553 ข้อ 4.3

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3  จำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand

ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต

เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ต่ำกว่า 7,000 ครั้งการเข้าใช้

7,000 ครั้งการเข้าใช้ขึ้นไป

8,000 ครั้งการเข้าใช้ขึ้นไป

9,000 ครั้งการเข้าใช้ขึ้นไป

10,000 ครั้งการเข้าใช้ขึ้นไป

ผลการดำเนินงาน

การรายงานการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand

  1. ผลรวมของจำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ทุกตอนรวมกันในปี 2553 ทั้งหมดประมาณ 80,368 ครั้ง
  2. คำค้นที่มีผู้ชมค้นคว้ามากที่สุด คือ (1) การพัฒนาบุคลิกภาพ จำนวน 2,531 ครั้ง (2) สเต็กหมู จำนวน 2,176 ครั้ง และ (3) Authorware จำนวน 1,899 ครั้ง
  3. วิชาที่มีผู้เข้าชมมากที่สุด คือ การใช้งานโปรแกรม Authorware ของอาจารย์ขนิษฐา ดีสุบิน คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม จำนวน 16,844 ครั้ง
  4. การเข้าชมสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand รวมทั้งหมดจำนวน 110,703 ครั้ง มาจาก 67 ประเทศ/พื้นที่

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่า

เป้าหมาย

(ครั้ง)

4 เดือน

(1 มิย.53-30 กย.53)

8 เดือน

(1 มิย. 53-31 มค. 54)

12 เดือน

(1 มิย. 53-31 พค. 54)

การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน

12 เดือน  งปม. 53

(1 ตค.52-30 กย. 53)

6 เดือน งปม. 54

(1 ตค.53-31 มีค. 54)

9 เดือน งปม. 54

(1 ตค.53-31 พค. 54)

[ ]

[ ]

[]

ผล

คะแนน

ผล

คะแนน

ผล

คะแนน

ต่ำกว่าเป้าหมาย

เท่ากับเป้าหมาย

สูงกว่าเป้าหมาย

8,000

N/A

N/A

N/A

N/A

80,368ครั้ง

5

รายการหลักฐาน

สวท.4.3-1-1 รายงานสรุปผลรวมจำนวนครั้งในการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand

สวท.4.3-1-2 รายงานสรุปภาพรวมของแหล่งที่มาและคำค้นคว้าในการเข้าชมสื่อ

สวท.4.3-1-3 วิชาที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand

สวท.4.3-1-4 รายงานสรุปการเช้าชมสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand รวมทั้งหมดจากทั่วโลก

จุดแข็ง

  1. รายวิชาที่นำมาผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มีความหลากหลายและน่าสนใจ รวมถึงรูปแบบการนำเสนอมีความน่าสนใจ
  2. มีจำนวนครั้งของการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand มากกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้
  3. มีเว็บไซต์ที่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล  Video On Demand ได้อย่างสะดวก

จุดที่ควรพัฒนา

  1. พัฒนาทางด้านเทคนิคการผลิตสื่อโทรทัศน์ให้แก่บุคลากร เพื่อนำไปพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  2. เพิ่มปริมาณการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand
แนวทางแก้ไข สนับสนุนและแผนการพัฒนาส่งเสริมจากผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน มทร.พระนคร ปีการศึกษา 2553

แผน/โครงการ/กิจกรรม

ผู้รับผิดชอบ

งปม./ระยะเวลาดำเนินการ

แผนส่งเสริม

  1. ปรับปรุงฐานข้อมูลสื่ออิเล็กทรอนิกส์
  2. ส่งเสริมให้มีการเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand มากขึ้น
– ผู้อำนวยการ สวท.

– รองฝ่ายวิทยบริการและนวัตกรรมการศึกษา

– งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและสื่ออิเล็กทรอนิกส์

2554

แผนสนับสนุน

  1. มีการประชาสัมพันธ์การเข้าใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
  2. สนับสนุนให้มีการพัฒนาระบบเครือข่ายให้สามารถ รับชมได้อย่างสะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น

2554

Leave a Reply