KPI ปี 2554 ข้อ 4.1

ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 จำนวนสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ที่ผลิตได้เสร็จสมบูรณ์

ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต

เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5
ต่ำกว่า 50 ตอน 51 – 60 ตอน 61 – 70 ตอน 71 – 80 ตอน 81 ตอนขึ้นไป

ผลการดำเนินงาน

กลุ่มงานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ได้ผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ขึ้น โดยปีการศึกษา 2554 ได้ดำเนินการผลิตเสร็จสมบูรณ์ มีทั้งหมด 13 รายวิชา จำนวน 167 ตอน โดยแบ่งเป็น

  1. ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวน 8 รายวิชา 93 ตอน
  2. ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวน 5 รายวิชา 74 ตอน

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย

(ตอน)

4 เดือน

(1 มิย.54-30 กย.54)

8 เดือน

(1 มิย. 54-31 มค. 55)

12 เดือน

(1 มิย. 54-31 พค. 55)

การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน
12 เดือน  งปม. 53

(1 ตค.53-30 กย. 54)

6 เดือน งปม. 54

(1 ตค.54-31 มีค. 55

9 เดือน งปม. 54

(1 ตค.54-31 พค. 55)

[ ] [√] [ ]
ผล คะแนน ผล คะแนน ผล คะแนน ต่ำกว่าเป้าหมาย เท่ากับเป้าหมาย สูงกว่าเป้าหมาย
80 N/A N/A N/A N/A 167 ตอน 5

รายการหลักฐาน

สวท.4.1-1 รายงานสรุปการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand

สวท.4.1-2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2554

สวท.4.1-3 สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554

สวท.4.1-4  วิชาการเขียนภาษาอังกฤษ 1

สวท.4.1-5  วิชาสร้างสรรค์งานผ้า 3

สวท.4.1-6  วิชาจักรอุตสาหกรรมใช้ง่าย รายได้ดี

สวท.4.1-7  วิชาแบบตัดเสื้อชาย

สวท.4.1-8  วิชาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และการออกแบบวงจร

สวท.4.1-9  วิชาอาหารจ่านด่วนเพื่อสุขภาพ 8

สวท.4.1-10 วิชาศิลปะการแกะสลักผัก ผลไม้ และสบู่ 6

สวท.4.1-11 วิชาก้าวไกลกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.พระนคร 1

สวท.4.1-12 วิชาการจัดดอกไม้เพื่อการค้า

สวท.4.1-13 วิชาการทำแบบตัด 1

สวท.4.1-14 วิชาก้าวไกลกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.พระนคร 2

สวท.4.1-15 วิชาตลาดธุรกิจบริการเฉพาะอย่าง

สวท.4.1-16 วิชาปัญญาประดิษฐ์

จุดแข็ง

  1. บุคลากรมีศักยภาพทางด้านความรู้ความสามารถด้านการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
  2. มีความพร้อมทางด้านสถานที่และอุปกรณ์ในการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
  3. สามารถผลิตสื่อในรูปแบบ Video On Demand ได้ครบถ้วนตามเกณฑ์ประเมินและมีความสมบูรณ์
  4. มีเว็บไซต์ที่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล Video On Demand ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว

จุดที่ควรพัฒนา

  1. มหาวิทยาลัยควรมีงบประมาณในการสนับสนุนให้แก่อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
  2. ปรับปรุงและขยายพื้นที่ห้องสตูดิโอให้มีพื้นที่กว้าง เพื่อเพิ่มความสะดวกในการบันทึกเทป
  3. จัดสรรอุปกรณ์ในการจัดเก็บข้อมูลสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ที่ผลิตขึ้นอย่างเพียงพอ

แนวทางแก้ไข สนับสนุนและแผนการพัฒนาส่งเสริมจากผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน มทร.พระนคร ปีการศึกษา 2554
แผน/โครงการ/กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ งปม./ระยะเวลาดำเนินการ
แผนส่งเสริม

  1. ส่งเสริมการพัฒนาคุรภาพของระบบการผลิตสื่อให้มีมาตรฐาน
  2. ส่งเสริมให้มีการประเมินผลคุณภาพสื่อที่ผลิตขึ้นในแต่ละรายการ
  3. ส่งเสริมการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา แก่อาจารย์หน่วยงานต่างๆ
– ผอ. สวท.

– รองฝ่ายวิทยบริการและนวัตกรรมการศึกษา

– งานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

2555
แผนสนับสนุน

  1. สนับสนุนงบประมาณให้แก่อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
  2. สนับสนุนงบประมาณด้านอุปกรณ์และสถานที่ เพื่อผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
  3. สนับสนุนการอบรม ศึกษาดูงาน และให้ความรู้แก่บุคลากรที่รับผิดชอบการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้ทันสมัยและเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต
  4. สนับสนุนการพัฒนาระบบประเมินผลคุณภาพสื่อ ให้มีความสะดวกและเหมาะสมกับผู้ใช้มากยิ่งขึ้น
2555